ปราชญ์ชาวบ้าน


ทะเบียนปราชญ์ชาวบ้านอำเภออุทุมพรพิสัย


ข้อมูลปราชญ์
(ผู้เชี่ยวชาญ/ประสบความสำเร็จในอาชีพ)

๑.ชื่อ.     นายบุญร่วม            นามสกุล         ธรรมสอน
๒. วัน/เดือน/ปีเกิด ๒๑  มกราคม  ๒๕๒๕  .อายุ...๓๔ ...ปี เลขประจำตัวประชาชน...3-3310-01169-74-5......
๓. ที่อยู่ บ้านเลขที่.........36.............หมู่ที่...๕..    บ้าน...โนนหาญหก...........     ถนน................-..........................
    ตำบลสำโรง   อำเภออุทุมพรพิสัย   จังหวัดศรีสะเกษ
๔. การติดต่อ โทรศัพท์..............0-94-380097-9................อีเมล์.........................-............................................
๕. การศึกษา (สูงสุด).........................................ปริญญาตรี...................................................................................
๖. ความเชี่ยวชาญ/ความสำเร็จในการประกอบอาชีพ
            ภาคการเกษตร ระบุ....................เลี้ยง โค กระบือ............................
            การแปรรูป (OTOP/SME)………………………………-
            การท่องเที่ยวชุมชน ………………………………………-………………………………………………………………………….
             อื่นๆ ระบุ ....................................................-............................................................................................
๗. บันทึกความรู้ของปราชญ์/ผู้ประสบความสำเร็จด้านอาชีพ ตามที่ระบุ ในข้อ ๖
          ๑. ความเป็นมา
                   เริ่มต้นจากการมีโค ที่บิดามอบให้ และมีใจรักในโคสวยงาม  จึงผสมกับพ่อพันธุ์ที่ดี และได้ลูกโค
เป็นตัวผู้และมีความสวยงามพอประมาณ  เพราะแม่พันธุ์นั้นเป็นแม่พันธุ์พื้นเมือง  จึงไม่สามารถให้ลูกที่มีความสวยงามโดดเด่นมากนัก  และลูกของมันก็มีความสวยงามพอที่จะเป็นพ่อพันธุ์สำหรับผสมแม่พันธุ์พื้นเมืองของเราได้
ผมจึงเลี้ยงเป็นพ่อพันธุ์ และได้นำผสมกับแม่พันธุ์พื้นเมืองในหมู่บ้าน และบอกราคาค่าผสมพันธุ์ตัวละ ๓๐๐ บาท
และต่อมาก็ได้ซื้อพ่อพันธุ์ก็ได้ซื้อพ่อพันธุ์ตัวใหม่มาเลี้ยง และก็มีคนรู้จักมาบอกให้นำไปผสมข้างนอกหมู่บ้าน โดย
นำโคพ่อพันธุ์ขึ้นรถยนต์ไปผสมและคิดค่าผสมเพิ่มเป็นตัวละ ๗๐๐ บาท พร้อมรวมกับค่ารถ และก็มีคนรู้จักมากขึ้น
จึงทำให้ผมต้องซื้อโคพ่อพันธุ์เพิ่ม และตอนนี้มีโคพ่อพันธุ์รวม ๓ ตัว และโคพ่อพันธุ์ก็มีราคาแพง

          ๒. กระบวนการ/วิธีการขั้นตอน/เทคนิค/ข้อพึงระวัง ที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาอาชีพ
               ขั้นตอนการทำงาน
                    การคัดเลือกโคเป็นพ่อพันธุ์
1.     ลูกโคผู้ก่อนหย่านมลักษณะสำคัญที่ควรใช้คัดเลือกลูกโคผู้ไว้ใช้เป็นพ่อพันธุ์ได้แก่อัตราการ
เจริญเติบโต ลูกโคควรได้รับการเปรียบเทียบอย่างยุติธรรมภายใต้การเลี้ยงดูในสภาพใกล้เคียงกัน ไม่ควรเลือกลูกโคตัวที่แม่ตายและถูกนำมาแยกเลี้ยงต่างหาก
2.หลังหย่านมจนถึงโตเต็มวัย ลูกโคควรโตอย่างสม่ำเสมอที่อัตรา 1 กก./ตัว/วัน แต่ไม่ควรให้โค
อ้วนพ่อโคต้องมีโครงร่างที่สมบูรณ์ ได้แก่ส่วน ขา เท้า ขากรรไกร และ ตาโครงร่างที่ผิดปกติมีผลต่อการ
เคลื่อนไหวของพ่อโคในการแทะเล็มหญ้าและการขึ้นทับ ลักษณะของขาและข้อเท้าที่ผิดปกติสามารถถ่ายทอด
ไปยังลูกได้ถึง 59 % ดังนั้นแม้โคจะมีลักษณะอื่นๆดีก็ควรคัดออกหรือไม่ซื้อมาใช้ในฝูง เท้าที่บิดหรือมีกีบโค้งงอ
จะให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับข้อขาต่อไป
                    ข้อพึงระวัง
                   ในขณะปฏิบัติหน้าที่เราต้องมีความระมัดระวังเป็นพิเศษเพราะโคพ่อพันธุ์แต่ละตัวมีนิสัยไม่เหมือนกัน
บางตัวนิสัยดี บางตัวนิสัยไม่ดี เราจึงต้องมีความระวังเป็นพิเศษ
เทคนิค
ในการเลี้ยงโคพ่อพันธุ์ต้องอาศัยความรัก และการดูเอาใจใส่ต่อโคพ่อพันธุ์ให้เกิดความรักความผูกพันต่อกัน โคพ่อพันธุ์จะได้ไม่ดุร้าย
            
๓. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
    การเลี้ยงโคพ่อพันธุ์  สามารถสร้างรายได้ให้กับครอบครัวเพิ่มขึ้น
    การได้ทำให้สิ่งที่เรารัก ทำให้มีความตั้งใจที่จะทำให้เกิดความสำเร็จ

๘. เกียรติคุณ/รางวัลที่ได้รับ
          ๑) รางวัล...................................-.................................หน่วยงาน................................-...............................
          ๒) รางวัล....................................-.................................หน่วยงาน...............................-...............................
๙. ประสบการณ์การถ่ายทอดความรู้
          ๑) โครงการ/หลักสูตร......................-........................หน่วยงาน...............................-.....................................
          ๒) โครงการ/หลักสูตร........................-......................หน่วยงาน...............................-...................................




   
ข้อมูลปราชญ์
(ผู้เชี่ยวชาญ/ประสบความสำเร็จในอาชีพ)

 ๑.ชื่อ.     นายสุกล                            นามสกุล         สุแก้ว
๒. วัน/เดือน/ปีเกิด    ๒๔๙๕  .อายุ...๖๔ ....ปี เลขประจำตัวประชาชน....3-3310-01169-74-5......
๓. ที่อยู่ บ้านเลขที่.........๔๗.............หมู่ที่...๑๐....ซอย...............-........................ถนน................-...........................
    ตำบลโคกหล่าม   อำเภออุทุมพรพิสัย   จังหวัดศรีสะเกษ
๔. การติดต่อ โทรศัพท์................................................................อีเมล์.........................-............................................
๕. การศึกษา (สูงสุด)...........................................ประถมศึกษาปีที่ ๖.........................................................................
๖. ความเชี่ยวชาญ/ความสำเร็จในการประกอบอาชีพ
            ภาคการเกษตร ระบุ....................การเลี้ยงโคพื้นบ้านเพื่อผลิตลูกโค และเนื้อโคจำหน่าย............................
           การแปรรูป (OTOP/SME)………………………………-………………………………………………………………………….
            การท่องเที่ยวชุมชน ………………………………………-………………………………………………………………………….
             อื่นๆ ระบุ ....................................................-............................................................................................
๗. บันทึกความรู้ของปราชญ์/ผู้ประสบความสำเร็จด้านอาชีพ ตามที่ระบุ ในข้อ ๖
          ๑. ความเป็นมา
              สืบเนื่องมาจากครอบครัวของผม  ประกอบอาชีพด้านการเกษตร มาตั้งแต่รุ่นปู่ย่า ตา ยาย  อาชีพหลัก
ก็คือ ทำนา  อาชีพเสริมเลี้ยงวัว  ซึ่งมีประสบการณ์การเลี้ยงมาเป็นเวลานาน  มีใจรักผูกพันกับโคมาตั้งแต่เป็นเด็ก
การเลี้ยงโคพื้นบ้านเพื่อผลิตลูกโคจำหน่าย  ทำให้ครอบครัวของผมมีรายได้เพิ่มขึ้น  จึงได้หันมายึดเป็นอาชีพเลี้ยงโค
พื้นบ้านเพื่อผลิตลูกโคจำหน่าย  และเนื้อวัว เป็นเนื้อที่ตลาดมีความต้องการสูง เพราะผู้บริโภคส่วนมากนิยมบริโภค
เนื้อโค  เนื้อโคจึงมีราคาสูง  ทำให้ไม่มีปัญหาในด้านราคาและการจำหน่าย 
          ๒. กระบวนการ/วิธีการขั้นตอน/เทคนิค/ข้อพึงระวัง ที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาอาชีพ
              ๑. ต้องมีโรงเรือนสำหรับเลี้ยงดู  ที่ตั้งของโรงเรือนต้องอยู่ในพื้นที่ดอน น้ำไม่ท่วมขัง
              ๒. ต้องมีแหล่งหญ้าธรรมชาติ สำหรับปล่อยเลี้ยง (หรือปลูกหญ้าไว้ สำหรับเลี้ยงวัว)
              ๓. ต้องคัดเลือกแม่พันธุ์ ที่พร้อมจะผสมพันธุ์ได้  ลักษณะของแม่พันธุ์ต้องมีโครงสร้างที่ดีและสมบูรณ์
                  ลักษณะปากใหญ่  โคนหางใหญ่  หนังหนา  ไม่มีประวัติการแท้งลูก  หรือเจ็บป่วย  ต้องฉีดวัคซีน
                  ป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อย ทุกปี
              ๔. ต้องอยู่ใกล้ตลาดนัดซื้อขายโค-กระบือ หรือมีตลาดรองรับที่ชัดเจน
          การเลี้ยงดู
              เริ่มต้นโคสาว หรือโคสาวอุ้มท้อง  หรือโคลูกติดมาเลี้ยง  ควรเลี้ยงตั้งแต่ ๕ ตัวขึ้นไป (ผมเลี้ยงอยู่ ๘ ตัว)
ซึ่งการเลี้ยงจะปล่อยโคออกหากินหญ้า หรือล่าม (ผูก) ไว้  ในทุ่งหญ้าสาธารณะหรือ ทุ่งหญ้าที่ปลูกสร้างขึ้น 
ตอนเย็นก็จะนำเข้าขังคอก หรือโรงเรือน
          ระยแวลาเลี้ยง
              -   โคสาว เลี้ยง 1-๒ เดือน สามารถผสมพันธุ์ได้  ตั้งท้องนาน 280 – 290 วัน จึงจะสามารถ
คลอดได้  เมื่อคลอดออกมา  ให้ลูกโคกินนมน้ำเหลืองจากแม่โคโดยเร็วที่สุด นมเหลืองจะทำให้ลูกวัวแข็งแรง
-          ควรถ่ายพยาธิ ประจำทุกปี ปีละ ๑ ครั้ง
-          ต้องฉีดวัคซีนป้องกันโรคที่สำคัญ ได้แก่ โรคคอบวม โรคปากและเท้าเปื่อย
-          การจำหน่าย  ลูกโค  จะหย่านมเมื่ออายุ ๖ ๗ เดือน  สามารถจำหน่ายได้ ในราคา
๒๕,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ บาท  ซึ่งแม่โคพื้นบ้าน สามารถให้ลูกได้ ปีละ ๑ ตัว  ปีหนึ่ง ๆ ทำให้มี
รายได้ ปีละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
 ๓. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
    เทคนิค
-          ต้องมีความเชี่ยวชาญในการซื้อและการขาย ดูโคให้เป็น
-          ต้องการสังเกต  ถ้าวัวมีอาการเจ็บป่วย  จะมีอาการซึม  ไม่กินอาหาร  จมูกจะแห้ง เหงื่อไม่ออก
จับใบหูจะเย็น  ให้รีบรักษา
             วิธีแก้ปัญหาเมื่อเกิดข้อผิดพลาด
-          อย่านำโคไปเลี้ยง  บริเวณที่มีฉีดยาฆ่าหญ้าหรือแมลง
๘. เกียรติคุณ/รางวัลที่ได้รับ
          ๑) รางวัล...................................-.................................หน่วยงาน................................-...............................
          ๒) รางวัล....................................-.................................หน่วยงาน...............................-...............................
๙. ประสบการณ์การถ่ายทอดความรู้
          ๑) โครงการ/หลักสูตร......................-........................หน่วยงาน...............................-.....................................

          ๒) โครงการ/หลักสูตร........................-......................หน่วยงาน...............................-...................................



ข้อมูลปราชญ์
(ผู้เชี่ยวชาญ/ประสบความสำเร็จในอาชีพ)
  

๑.ชื่อ.     นายสุนทร     นามสกุล         มณีนิล
๒. วัน/เดือน/ปีเกิด    ๒๔๙๐  .อายุ...๖๙ ....ปี เลขประจำตัวประชาชน....3-3310-00084-58-4......
๓. ที่อยู่ บ้านเลขที่.........๔๗.............หมู่ที่...๑๐.........บ้าน..........โคกน้อย...........ถนน................-...........................
    ตำบลโคกจาน   อำเภออุทุมพรพิสัย   จังหวัดศรีสะเกษ
๔. การติดต่อ โทรศัพท์............0-92-313509-5...............อีเมล์.........................-............................................
๕. การศึกษา (สูงสุด)...........................................,ม. ๖.........................................................................
๖. ความเชี่ยวชาญ/ความสำเร็จในการประกอบอาชีพ
            ภาคการเกษตร ระบุ....................การทำการเกษตรปลอดสารพิษการทำนาหยอด............................
           การแปรรูป (OTOP/SME)………………………………-………………………………………………………………………….
            การท่องเที่ยวชุมชน ………………………………………-………………………………………………………………………….
             อื่นๆ ระบุ ....................................................-............................................................................................
๗. บันทึกความรู้ของปราชญ์/ผู้ประสบความสำเร็จด้านอาชีพ ตามที่ระบุ ในข้อ ๖
          ๑. ความเป็นมา
              สืบเนื่องมาจากครอบครัวของผมเป็นชาวนาโดยกำเนิด  และปัจจุบันการทำการเกษตรแบบใหม่ ไม่ว่า
จะทำนา ปลูกพืชผัก  มักมีการใช้ปุ๋ยเคมี  ใช้สารยาฆ่าหญ้า  ยาฆ่าแมลง เป็นส่วนใหญ่  ทำให้เกิดการสะสมของ
สารเคมี และล้มป่วยตายด้วยโรคมะเร็งเป็นส่วนมาก  และทางเจ้าหน้าที่จากสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอได้ออกไป
ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  จึงได้น้อมนำแนวทางปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาปฏิบัติ
          ๒. กระบวนการ/วิธีการขั้นตอน/เทคนิค/ข้อพึงระวัง ที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาอาชีพ
การทำนาหยอด ํ ในปัจจุบันกระบวนการ เทคนิค เทคโนโลยีในการทํานา ถูกพัฒนาเพื่อให้เกิด ความสะดวก เหมาะสมต่อสภาพพื้นที่และเพื่อเป็นการลดต้นทุนในการทํานาด้วย อีกทางหนึ่ง การทํานาโดยใช้เครื่องหยอดเมล็ดข้าว เป็นอีกวิธีหนึ่งที่มีการเริ่มใช้กันมากขึ้น เนื่องด้วยเป็นวิธีการผสมผสานข้อดีระหว่างการทํานาแบบปักดํา และการทํานา แบบหว่านน้ำตมเข้าด้วยกัน
          เครื่องหยอดเมล็ดพันธุข้าว ส่วนประกอบและการทํางาน
- ชุดเฟืองหมุนในการทํางาน  โครงตัวเครื่องพร้อมล้อเหล็ก 2 ด้าน ขนาด 26 นิ้ว กระบอกบรรจุเมลดพันธุ์ข้าว (ท่อ PVC) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 นิ้ว จํานวน 3 กระบอก เจาะฝาปิด-เปิด เพื่อใช้บรรจุเมล็ดพันธุ์ข้าว แต่ละ กระบอกทําการเจาะรูเพื่อให้เมล็ดข้าวหล่น โดยกําหนดระยะห่าง ระหว่างแถว 20 ซม. ระยะห่างระหว่างกอ 25 ซม.
- ทำงานโดยการลาก เพื่อให้กระบอกหมุนและเมล็ดข้าวหล่นลงบนแปลง ขั้นตอนในการทำนาหยอด ํ
เตรียมดิน ตามวิธีการปกติเหมือนการทำนาหว่านน้าตม
- นำเมล็ดพันธุ์ข้าวแช่น้าและบ่ม เช่นเดียวกับการทำนาหว่านน้ำตม ข้อควร ระวังคือ ต้องไม่ให้เมล็ดข้าวงอกรากยาวเกินไป เพราะจะทำให้เมล็ดข้าวติดค้างในรู ที่เจาะไว้ไม่หล่นจากเครื่องหยอด
- นำเมล็ดข้าวที่เพาะไว้กรอกลงในกระบอกของเครื่องหยอดเมล็ดข้าว ซึ่งบรรจุ เมล็ดข้าวได้ประมาณ 7 ลิตร ปลูกได้เป็นพื้นที่ประมาณเกือบ 1 ไร่ - การดูแล เหมือนการทํานาหว่านน้ำตม ข้อดีข้อเสีย ในการทำนาหยอด ข้อดี - สามารถทําการตรวจตัดพันธุ์ปนได้ง่าย เนื่องจากนาหยอดจะมีระยะห่าง ระหว่างแถว กอ ใกล้เคียงกับการทำนาดำ (สามารถปรับระยะได้ตาม ความต้องการโดยการกําหนดระยะห่างในการเจาะรู)
- ประหยัดเมล็ดพันธุ์โดยใช้เมล็ดพันธุ์ 8 กก./ไร่ ลดต้นทุนในการปลูก เมื่อเทียบกบการใช้รถดํานา
ข้อเสีย
- ใช้เวลามาก เมื่อเทียบกับการทํานาแบบหว่านน้าตม หรือใช้รถดํานา
- สิ้นเปลืองกําลังมากในการหยอดเมล็ดพันธุ์ข้าว เนื่องจากต้องใช้ แรงงานคนในการลากเครื่องหยอด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่นาด้วย
๓. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
คือการน้อมนำแนวทางปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมา
ปฏิบัติ โดยคิดว่าถ้าเราทำการเกษตรปลอดสารพิษเราก็จะลดรายจ่ายในด้านต้นทุนการผลิต และเพิ่มรายได้ เพราะข้าว หรือพืชผักที่ปลอดสารพิษสามารถขายได้ในราคาที่สูงกว่า ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นเมื่อลดรายจ่ายในเรื่อง ปุ๋ยเคมี  ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าแมลง ทำให้เราสามารถประหยัดและได้ออมเงิน  ได้เรียนรู้แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและได้นำมาประยุกต์ใช้ในวิถึชีวิตประจำวัน อีกทั้งช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ คือทำให้ดินไม่เสื่อมจากการใช้สารเคมี  โดยมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพในการบำรุงดินแทน 
๘. เกียรติคุณ/รางวัลที่ได้รับ
          ๑) รางวัล...................................-.................................หน่วยงาน................................-...............................
          ๒) รางวัล....................................-.................................หน่วยงาน...............................-...............................
๙. ประสบการณ์การถ่ายทอดความรู้
          ๑) โครงการ/หลักสูตร......................-........................หน่วยงาน...............................-.....................................
          ๒) โครงการ/หลักสูตร........................-......................หน่วยงาน...............................-...................................





ข้อมูลปราชญ์
(ผู้เชี่ยวชาญ/ประสบความสำเร็จในอาชีพ)


 ๑.ชื่อ......นายอัตพล   นางวงค์..................................
๒. วัน/เดือน/ปีเกิด  ๒๗ กันยายน  ๒๕๐๗ อายุ  ๕๒ .ปี เลขประจำตัวประชาชน  ๓๓๓๙๙๐๐๑๕๘๐๑๘........
๓. ที่อยู่ บ้านเลขที่.......๑๔๘..............หมู่ที่.....๔.....ซอย...................-......................ถนน...................-...........................
     ตำบล แข้  อำเภออุทุมพรพิสัย  จังหวัดศรีสะเกษ
๔. การติดต่อ โทรศัพท์.............................................................อีเมล์..........................................................................
๕. การศึกษา (สูงสุด)..........ม.๖.....................................................................................................................................
๖. ความเชี่ยวชาญ/ความสำเร็จในการประกอบอาชีพ
            ภาคการเกษตร ระบุ.การเกษตร เกษตรผสมผสาน  ช่างไฟฟ้า.....................................................................
            การแปรรูป (OTOP/SME)……………………………………………………………………………………………………………………………….
            การท่องเที่ยวชุมชน ……………………………………………………………………………………………………………………………………….
             อื่นๆ ระบุ .................................................................................................................................................
๗. บันทึกความรู้ของปราชญ์/ผู้ประสบความสำเร็จด้านอาชีพ ตามที่ระบุ ในข้อ ๖
          ๑. ความเป็นมา
              ปี ๒๕๕๘ บ้านโดนกลาง ตำบลแข้ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ  โดยสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภออุทุมพรพิสัย ได้เข้าอบรมและศึกษาดูงานและสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน ครอบครัวต้นแบบจำนวน ๓๐ ครัวเรือน ตระหนักในการเป็นครัวเรือนต้นแบบ จนร่วมกับคณะกรรมหมู่บ้าน ได้ศึกษาดูงานหมู่บ้านต้นแบบหลายหมู่บ้าน พร้อมนำมาปฏิบัติร่วมกันจนเกิดทักษะและความชำนาญในการทำงาน โดยเฉพาะด้านการเกษตร สามารถเรียนรู้โดยการปลูกบริเวณครัวเรือนและที่ทุ่งนา โครงการดังกล่าวทำให้บ้านโนนกลาง มีสภาพสิ่งแวดล้อมสวยงามโดยพืชผักสวนครัวโดยครอบครัวต้นแบบเป็นแบบอย่าง ทำให้ตอบคุณภาพชีวิตครัวเรือนดีขึ้น มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตยเอง ครอบครัว ชุมชน
          ๒. กระบวนการ/วิธีการขั้นตอน/เทคนิค/ข้อพึงระวัง ที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาอาชีพ
                    -.ศึกษาดูงานหมู่บ้านต้นแบบ
                    -ดำเนินการตามหลักวิชาการที่ได้เรียนและศึกษาอย่างจริงจัง
                   -ศึกษา วิเคราะห์ เรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ
                   -สรุปผลการดำเนินงานเรียนรู้ร่วมกัน
                   -ประชุมทบทวนการดำเนินกิจกรรมต่อเนื่อง
๓. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
                   -พึงพอใจในความเป็นครอบครัวต้นแบบและพร้อมที่จะดำเนินการ
                   -ขยันหมั่นเพียร เรียนรู้อย่างอดทน
                   -วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง
                   -ยึดหลักวิชาการในการปฏิบัติ
  
๘. เกียรติคุณ/รางวัลที่ได้รับ
          ๑) รางวัล............................-..........................................หน่วยงาน...........................-.....................................
          ๒) รางวัล............................-..........................................หน่วยงาน...........................-.....................................
๙. ประสบการณ์การถ่ายทอดความรู้
          ๑) โครงการ/หลักสูตร.ผู้นำการเปลี่ยนแปลง.....หน่วยงาน...กรมการพัฒนาชุมชน................................
          ๒) โครงการ/หลักสูตร เศรษฐกิจพอเพียง..........หน่วยงาน...พัฒนาชุมชนอำเภอ..................................
หมายเหตุ  สามารถแนบไฟล์ประวัติหรือองค์ความรู้ของปราชญ์ที่จัดทำไว้แล้ว (ถ้ามี)


                                                                          ข้อมูลปราชญ์
                                                          (ผู้เชี่ยวชาญ/ประสบความสำเร็จในอาชีพ)

๑.ชื่อ นางระนอง    จันทำ
๒. วัน/เดือน/ปีเกิด   - 2516  อายุ  43  ปี เลขประจำตัวประชาชน  3331000030255
๓. ที่อยู่ บ้านเลขที่  2  หมู่ที่  6  ซอย   -   ถนน – ตำบลโคกจาน อำเภออุทุมพรพิสัย  จังหวัดศรีสะเกษ
๔. การติดต่อ โทรศัพท์   -          อีเมล์   -
๕. การศึกษา (สูงสุด)  -6
๖. ความเชี่ยวชาญ/ความสำเร็จในการประกอบอาชีพ
            ภาคการเกษตร ระบุ   เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การปลูกผักอินทรีย์ ผักปลอดสารพิษ
            การแปรรูป (OTOP/SME)  ระบุ เลี้ยงหม่อนทอผ้าไหม
            การท่องเที่ยวชุมชน ……………………………………………………………………………………
             อื่นๆ ระบุ .................................................................................................................................................
๗. บันทึกความรู้ของปราชย์/ผู้ประสบความสำเร็จด้านอาชีพ ตามที่ระบุ ในข้อ ๖
          ๑. ความเป็นมา
              คำอธิบาย : อธิบายสถานการณ์ ที่มา ของการประกอบอาชีพที่ประสบความสำเร็จพอสังเขป เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจที่มาและสภาพในขณะปฏิบัติอาชีพ ตลอดจนความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการประกอบอาชีพดังกล่าว
          ๒. กระบวนการ/วิธีการขั้นตอน/เทคนิค/ข้อพึงระวัง ที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาอาชีพ
              คำอธิบาย : อธิบายขั้นตอนการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น อาจสอดแทรกเทคนิคหรือข้อพึงระวังไว้ในแต่ละขั้นตอนเลยก็ได้ หรืออาจสรุปในตอนท้าย
-          อธิบายเป็นข้อๆและย่อหน้าเพื่อแบ่งให้เห็นขั้นตอนที่ชัดเจน
-          พึงระลึกเสมอว่าผู้อ่านความรู้ของเรา คือผู้ที่อาจไม่มีประสบการณ์ ไม่มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้มาก่อน จึงควรเขียนขั้นตอนให้ละเอียด เข้าใจจนเห็นภาพ จุดไหนที่เป็นจุดเน้นเป็นขั้นตอนสำคัญที่ต้องทำ อาจขีดเส้นใต้หรือพิมพ์ตัวหนา
๓. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
    คำอธิบาย :
-          บอกเทคนิคที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการำงาน
-          ข้อสังเกตที่พบระหว่างการปฏิบัติตามขั้นตอน
-          ข้อควรระวังเพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดอย่างที่เจ้าของความรู้ปฏิบัติแล้วเกิดความเสียหายหรือต้องแก้ไข
-          วิธีแก้ปัญหาเมื่อเกิดข้อผิดพลาด
๘. เกียรติคุณ/รางวัลที่ได้รับ
          ๑) รางวัล......................................................................หน่วยงาน................................................................
          ๒) รางวัล......................................................................หน่วยงาน................................................................
๙. ประสบการณ์การถ่ายทอดความรู้
          ๑) โครงการ/หลักสูตรอบรมเศรษฐกิจพอเพียง  หน่วยงาน  สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภออุทุมพรพิสัย
          ๒) โครงการ/หลักสูตรอบรมนาแปลงใหญ่  หน่วยงาน  สำนักงานเกษตรอำเภออุทุมพรพิสัย